รู้หรือไม่ว่า จริงๆ แล้ว อายุคนเราแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
อายุทางปฏิทิน
(chronological age)
นับตามวันเดือนปีที่เกิด
อายุทางชีวภาพ หรือ
อายุร่างกาย (biological age)
ตัวเลขอายุทั้ง 2 แบบนี้ อาจไม่ได้สัมพันธ์กันเสมอไป อายุทางปฏิทินนั้นไม่ได้บ่งบอกอายุร่างกายที่แท้จริง บางคนถึงแม้อายุทางปฏิทินมาก แต่อายุร่างกายอาจจะไม่ได้มากตามตัวเลขอายุจริง หรือบางคนอายุน้อย แต่มีอายุร่างกายที่สูงกว่าอายุจริงก็เป็นได้
ข้อมูลจากกรมอนามัยพบว่า คนไทยเกือบ 80% มีพฤติกรรมเนือยนิ่ง ซึ่งก็คือพฤติกรรมการใช้ชีวิตในแต่ละวันที่เคลื่อนไหวร่างกายน้อยมากหรือแทบไม่เคลื่อนไหวเลย รวมถึงการนั่ง นอนเอนหลัง หรือนอนราบในขณะตื่นนอน ที่ใช้พลังงานน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1.5 METs (Metabolic Equivalent of Task) ตัวย่างพฤติกรรมเนือยนิ่ง เช่น ดูทีวี ขับรถ เล่นมือถือ นั่งทำงานนาน หรือ นั่งประชุมนานๆ
การมีพฤติกรรมเนือยนิ่งยังเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-Communicable Diseases; NCDs) มากมาย เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคเบาหวานชนิดที่ 2
ดูทีวี
เล่นมือถือ
นั่งทำงาน
นั่งประชุมนานๆ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคเบาหวาน ชนิดที่ 2
หนึ่งในวิธีที่จะช่วย โกงอายุให้ร่างกายแข็งแรง คือ การหันมา
เปลี่ยนแปลงตัวเอง ปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิต
หนึ่งในวิธีที่จะช่วย โกงอายุให้ร่างกายแข็งแรง คือ การหันมาเปลี่ยนแปลงตัวเอง ปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิต
หยุดพฤติกรรมเนือยนิ่ง
มูฟเคลื่อนไหวร่างกายเป็นประจำ
อย่างน้อยวันละ 30 นาที
5 วัน/ สัปดาห์
หยุดพฤติกรรมเนือยนิ่ง
มูฟเคลื่อนไหวร่างกายเป็นประจำอย่างน้อย
วันละ 30 นาที 5 วัน/ สัปดาห์
ดื่มนมเสริมสารอาหาร
หลากหลายที่เหมาะกับ
วัยเป็นประจำ
ดื่มนมเสริมสารอาหารหลากหลายที่
เหมาะกับวัยเป็นประจำ
ออกกำลังกายแบบลงน้ำหนัก
เพื่อเพิ่มความหนาแน่นของ
กระดูก เช่น วิ่ง เต้นแอโรบิก
ออกกำลังกายแบบลงน้ำหนักเพื่อเพิ่มความ
หนาแน่นของกระดูก เช่น วิ่ง เต้นแอโรบิก
นอนหลับพักผ่อนให้
เพียงพอ อย่างน้อย
วันละ 7 ชั่วโมง
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
อย่างน้อยวันละ 7 ชั่วโมง
มีโภชนาการที่ดี เสริมด้วย
สารอาหารจำเป็น
หยุดพฤติกรรมเนือยนิ่ง
มูฟเคลื่อนไหวร่างกายเป็นประจำ
อย่างน้อยวันละ 30 นาที
5 วัน/ สัปดาห์
หยุดพฤติกรรมเนือยนิ่ง
มูฟเคลื่อนไหวร่างกายเป็นประจำอย่างน้อย
วันละ 30 นาที 5 วัน/ สัปดาห์
ออกกำลังกายแบบลงน้ำหนัก
เพื่อเพิ่มความหนาแน่นของ
กระดูก เช่น วิ่ง เต้นแอโรบิก
ออกกำลังกายแบบลงน้ำหนักเพื่อเพิ่มความ
หนาแน่นของกระดูก เช่น วิ่ง เต้นแอโรบิก
มีโภชนาการที่ดี เสริมด้วย
สารอาหารจำเป็น
ดื่มนมเสริมสารอาหาร
หลากหลายที่เหมาะกับ
วัยเป็นประจำ
ดื่มนมเสริมสารอาหารหลากหลายที่
เหมาะกับวัยเป็นประจำ
นอนหลับพักผ่อนให้
เพียงพอ อย่างน้อย
วันละ 7 ชั่วโมง
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
อย่างน้อยวันละ 7 ชั่วโมง
เมื่อเราปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต มีแอคทีฟไลฟ์สไตล์มากขึ้น ก็สามารถช่วยโกงอายุร่างกายได้ เมื่อลดอายุร่างกายได้แล้ว ยังสามารถช่วยลดความเสี่ยงสารพัดโรคได้อีกด้วย
เมื่อเราปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต มีแอคทีฟไลฟ์สไตล์มากขึ้น ก็สามารถช่วยโกงอายุร่างกายได้
เมื่อลดอายุร่างกายได้แล้ว ยังสามารถช่วย
ลดความเสี่ยงสารพัดโรคได้อีกด้วย

ผศ.นพ.กุลพัชร จุลสําลี

ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ

โรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์

ข้อมูลอ้างอิง
กรมอนามัย https://multimedia.anamai.moph.go.th/news/270366/
มูลนิธิโรคกระดูกพรุนแห่งประเทศไทย. (2564). คำแนะนำเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคกระดูกพรุน. มูลนิธิโรคกระดูกพรุนแห่งประเทศไทย.
Tian, A., Sudlow, C., Tilling, K., & Sharp, S. J. (2022). Investigation of a UK biobank cohort reveals causal associations of self-reported walking pace with telomere length. Communications Biology, 5, Article 1160. https://doi.org/10.1038/s42003-022-03323-x
Tucker, L. A. (2017). Physical activity and telomere length in U.S. men and women: An NHANES investigation. Preventive Medicine, 100, 145-151. https://doi.org/10.1016/j.ypmed.2017.04.027
Tucker, L. A. (2019). Milk Fat Intake and Telomere Length in U.S. Women and Men: The Role of the Milk Fat Fraction. Oxidative Medicine and Cellular Longevity, 2019, 1574021. https://doi.org/10.1155/2019/1574021
World Health Organization https://iris.who.int/bitstream/handle/10665/337001/9789240014886-eng.pdf